1
พูดคุยForexทั่วไป / เทรด Forex ด้วยข่าว กับ 5 ข่าวแรงที่เทรดเดอร์ต้องรู้
« กระทู้ล่าสุด โดย rannie2020 เมื่อ 07/ก.ย./2024 01:10:58 »สวัสดีจ้า เพื่อนๆ หลายคนก็คงจะติดตามการเมืองไทยกันแน่นอน เพราะเป็นนิสัยของนักลงทุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทรดเดอร์ Forex ที่ไม่ได้ติดตามแค่การเมืองในประเทศไทยเท่านั้น แต่ยังต้องติดตามการเมืองของประเทศอื่นๆ เพื่อจะได้วางกลยุทธ์ให้ทันเวลา และวันนี้มาดูเทรด Forex ด้วยข่าว กับ 5 ข่าวแรงที่เทรดเดอร์ต้องรู้ 5 รายงานข่าวที่สามารถส่งผลกระทบต่อค่าเงิน เปรียบได้ดั่งเป็นสัญญาณทางเศรษฐกิจที่สำคัญและช่วยให้เทรดเดอร์วิเคราะห์, พยากรณ์แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจในอนาคตได้ และสร้างกำไรจากจุดได้เปรียบตรงนี้
1. Unemployment Rate: อัตราการว่างงาน
รายงานอัตราการว่างงานมีผลกระทบต่อตลาดการเงินอย่างไร ?
อัตราการว่างงานที่มากขึ้น >>> มีความหมายว่า คนไม่มีงานทำหรือหางานไม่ได้เพราะว่าธุรกิจลดรายจ่ายหรือเลิกกิจการ ทำให้ผู้คนใช้จ่ายน้อยลง ระบบเศรษกิจตกต่ำ (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะลดลง)
อัตราการว่างงานที่ลดลง >>> มีความหมายว่า คนมีงานทำมากขึ้น ผู้คนใช้เงินมากขึ้น ส่งผลต่อให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ระบบเศรษกิจแข็งแกร่งขึ้น (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น)
2. GDP: ดัชนีชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ
GDPหมายถึงค่าที่ใช้วัดความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ มีชื่อเต็มว่า Gross Domestic Product หมายถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ ซึ่งนับว่าเป็นข้อมูลมาตรฐานของมูลค่าในตัวเงินกับขนาดโดยรวมของเศรษฐกิจของประเทศ
GDP ส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินอย่างไร?
GDP เพิ่มขึ้น >>> มีความหมายว่า มีการใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นภายในประเทศ ทำให้เศรษฐกิจภาพรวมของประเทศนั้นเติบโตขึ้น (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น)
GDP ลดลง >>> มีความหมายว่า มีการใช้เงินน้อยลง บ่งบอกถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศนั้นหยุดชะงักหรือชะลอตัวลง (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะลดลง)
3. CPI: ดัชนีราคาผู้บริโภค
Consumer Price Index (CPI) ดัชนีราคาผู้บริโภคคือวัดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าโดยเฉลี่ยในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งถูกใช้อย่างกว้างขวางเพื่อวัดอัตราเงินเฟ้อ โดยตัวเลข CPI ที่สูงแปลได้ว่าเงินเฟ้อสูง
CPI ส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินยังไง?
CPI มีค่าบวก >>> มีความหมายว่า สินค้าและบริการมีราคาเพิ่มขึ้นมาก ผู้คนใช้จ่ายเงินมากขึ้น อัตราเงินเฟ้อเพิ่มมาก นั้นแสดงว่าระบบเศรษฐกิจแข็งแกร่งขึ้น (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น)
CPI มีค่าติดลบ>>> หมายความว่า สินค้าและบริการมีราคาเพิ่มขึ้นน้อย อัตราเงินเฟ้อเพิ่มน้อย หากเกิดขึ้นติดต่อกันยาวนานอาจจะส่งผลให้เกิดภาวะเงินฝืดได้ (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะลดลง)
4. Interest Rate: อัตราดอกเบี้ย
เมื่อธนาคารกลางเห็นว่าประเทศกำลังตกอยู่ในสภาวะเงินเฟ้อหรือภาวะเงินฝืดก็จะมีมาตรการการปรับอัตราดอกเบี้ยให้กลับมาอยู่ในจุดสมดุล
การปรับอัตราดอกเบี้ย Interest Rate ส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินยังไง?
การเพิ่มอัตราดอกเบี้ย>>> เมื่อดอกเบี้ยสูงมากขึ้น ผู้คนเริ่มระมัดระวังในการใช้จ่าย ส่งผลให้เงินเฟ้อและการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจชะลอตัวลง (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง ไม่พุ่งขึ้นสูง)
การลดอัตราดอกเบี้ย>>> เมื่อดอกเบี้ยต่ำลง เป็นแรงจูงใจให้ผู้คนเข้ามาทำกิจกรรมในระบบเศรฐมากขึ้น เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ซบเซาให้มีชีวิตชีวา(ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้น)
5. NFP (Non-farm Payrolls): “ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตร”
NFP ถือว่าเป็นดัชนีชี้นำทางเศรษฐกิจ ที่มีความสำคัญมากที่สุดตัวหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ตัวเลขนี้เป็นการรวบรวมอัตราการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือน ซึ่งหมายถึงปริมาณการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น หรือ ลดลง เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า ใช้สะท้อนการขยาย หรือ หดตัวทางเศรษฐกิจผ่านทางการจ้างงานที่มีแนวโน้มลดลงหรือเพิ่มขึ้น
NFP ทำให้เกิดผลกระทบต่อตลาดการเงินอย่างไร?
NFP เป็นบวก>>> แปลว่า มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น ผู้คนมีเงินมากขึ้น ใช้จ่ายมากขึ้น ส่งผลให้ภาพรวมเศรษฐกิจของอเมริกาขยายตัวขึ้น
(ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น)
NFP เป็นลบ>>> แปลว่า การจ้างงานลดลง ผู้คนใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง ทำให้ภาพรวมเศรษฐกิจของอเมริกาหดตัวลง
(ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะลดลง)
1. Unemployment Rate: อัตราการว่างงาน
รายงานอัตราการว่างงานมีผลกระทบต่อตลาดการเงินอย่างไร ?
อัตราการว่างงานที่มากขึ้น >>> มีความหมายว่า คนไม่มีงานทำหรือหางานไม่ได้เพราะว่าธุรกิจลดรายจ่ายหรือเลิกกิจการ ทำให้ผู้คนใช้จ่ายน้อยลง ระบบเศรษกิจตกต่ำ (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะลดลง)
อัตราการว่างงานที่ลดลง >>> มีความหมายว่า คนมีงานทำมากขึ้น ผู้คนใช้เงินมากขึ้น ส่งผลต่อให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ระบบเศรษกิจแข็งแกร่งขึ้น (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น)
2. GDP: ดัชนีชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ
GDPหมายถึงค่าที่ใช้วัดความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ มีชื่อเต็มว่า Gross Domestic Product หมายถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ ซึ่งนับว่าเป็นข้อมูลมาตรฐานของมูลค่าในตัวเงินกับขนาดโดยรวมของเศรษฐกิจของประเทศ
GDP ส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินอย่างไร?
GDP เพิ่มขึ้น >>> มีความหมายว่า มีการใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นภายในประเทศ ทำให้เศรษฐกิจภาพรวมของประเทศนั้นเติบโตขึ้น (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น)
GDP ลดลง >>> มีความหมายว่า มีการใช้เงินน้อยลง บ่งบอกถึงภาวะเศรษฐกิจของประเทศนั้นหยุดชะงักหรือชะลอตัวลง (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะลดลง)
3. CPI: ดัชนีราคาผู้บริโภค
Consumer Price Index (CPI) ดัชนีราคาผู้บริโภคคือวัดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าโดยเฉลี่ยในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งถูกใช้อย่างกว้างขวางเพื่อวัดอัตราเงินเฟ้อ โดยตัวเลข CPI ที่สูงแปลได้ว่าเงินเฟ้อสูง
CPI ส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินยังไง?
CPI มีค่าบวก >>> มีความหมายว่า สินค้าและบริการมีราคาเพิ่มขึ้นมาก ผู้คนใช้จ่ายเงินมากขึ้น อัตราเงินเฟ้อเพิ่มมาก นั้นแสดงว่าระบบเศรษฐกิจแข็งแกร่งขึ้น (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น)
CPI มีค่าติดลบ>>> หมายความว่า สินค้าและบริการมีราคาเพิ่มขึ้นน้อย อัตราเงินเฟ้อเพิ่มน้อย หากเกิดขึ้นติดต่อกันยาวนานอาจจะส่งผลให้เกิดภาวะเงินฝืดได้ (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะลดลง)
4. Interest Rate: อัตราดอกเบี้ย
เมื่อธนาคารกลางเห็นว่าประเทศกำลังตกอยู่ในสภาวะเงินเฟ้อหรือภาวะเงินฝืดก็จะมีมาตรการการปรับอัตราดอกเบี้ยให้กลับมาอยู่ในจุดสมดุล
การปรับอัตราดอกเบี้ย Interest Rate ส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินยังไง?
การเพิ่มอัตราดอกเบี้ย>>> เมื่อดอกเบี้ยสูงมากขึ้น ผู้คนเริ่มระมัดระวังในการใช้จ่าย ส่งผลให้เงินเฟ้อและการเติบโตทางด้านเศรษฐกิจชะลอตัวลง (ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง ไม่พุ่งขึ้นสูง)
การลดอัตราดอกเบี้ย>>> เมื่อดอกเบี้ยต่ำลง เป็นแรงจูงใจให้ผู้คนเข้ามาทำกิจกรรมในระบบเศรฐมากขึ้น เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ซบเซาให้มีชีวิตชีวา(ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้น)
5. NFP (Non-farm Payrolls): “ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตร”
NFP ถือว่าเป็นดัชนีชี้นำทางเศรษฐกิจ ที่มีความสำคัญมากที่สุดตัวหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ตัวเลขนี้เป็นการรวบรวมอัตราการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละเดือน ซึ่งหมายถึงปริมาณการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น หรือ ลดลง เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า ใช้สะท้อนการขยาย หรือ หดตัวทางเศรษฐกิจผ่านทางการจ้างงานที่มีแนวโน้มลดลงหรือเพิ่มขึ้น
NFP ทำให้เกิดผลกระทบต่อตลาดการเงินอย่างไร?
NFP เป็นบวก>>> แปลว่า มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น ผู้คนมีเงินมากขึ้น ใช้จ่ายมากขึ้น ส่งผลให้ภาพรวมเศรษฐกิจของอเมริกาขยายตัวขึ้น
(ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น)
NFP เป็นลบ>>> แปลว่า การจ้างงานลดลง ผู้คนใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง ทำให้ภาพรวมเศรษฐกิจของอเมริกาหดตัวลง
(ค่าเงินมีแนวโน้มที่จะลดลง)